-
ชื่อเรื่องภาษาไทยการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 2
- ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษPromotion of Virtues and Ethics in Schools under the Office of Primary Education Service Area 2, Ubonratchathani Province
- ผู้วิจัยพระสมุห์ประสิทธิ์ ปสิทฺธิโก (แสนด้วง)
- ที่ปรึกษา 1ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ บึงมุม
- ที่ปรึกษา 2ดร.สังวาลย์ เพียยุระ
- วันสำเร็จการศึกษา31/03/2017
- ส่วนงานจัดการศึกษา:
- ชื่อปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พธ.ม.)
- ระดับปริญญาปริญญาโท
- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
- URI http://e-thesis.iteam.co.th/thesis/1708
- ปรากฏในหมวดหมู่วิทยานิพนธ์
- ดาวน์โหลด 2,570
- จำนวนผู้เข้าชม 587
บทคัดย่อภาษาไทย
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา อุบลราชธานี เขต 2 และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะและแนวทางการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมคือ 1) ประชากรที่ใช้ในการศึกษาเชิงปริมาณ ได้แก่ผู้บริหาร และครูผู้สอน จำนวน 283 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตาราง เครซี่และมอร์แกน(Krejcie &Margan) โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น และการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ชนิดมาตราส่วนประมาณค่า ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2) กำหนดกลุ่มเป้าหมายการศึกษาเชิงคุณภาพ จำนวน 10 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ แบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงพรรณนา
ผลการวิจัย พบว่า
จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 2 ครั้งนี้ สรุปผลการวิจัยตาม
1. การส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมในสถานศึกษา โดยภาพรวม และรายด้านมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากโดยค้านที่มีการปฏิบัติสูงสุด คือค้านหลักความคุ้มค่า รองลงมาคือด้านหลักความโปร่งใสและด้านหลักความรับผิดชอบตามลำดับ ส่วนด้านที่มีการปฏิบัติต่ำสุด คือ ด้านหลักนิติธรรม เมื่อ พิจารณาเป็นรายด้าน ปรากฏดังนี้ ด้านการส่งเสริมต้านความพอเพียง ด้านการส่งเสริมด้านความซื่อ สัตย์ ด้านการส่งเสริมด้านอุดมการณ์คุณธรรมและจริยธรรม ด้านหลักความรับผิดชอบ
2. ผลการเปรียบเทียบการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา อุบลราชธานี เขต 2 จำแนกตามตำแหน่งหน้าที่โดยภาพรวม
วัตถุประสงค์ได้ดังนี้ มีการปฏิบัติไม่แตกต่างกัน ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ด้านหลักความคุ้มค่ามีการปฏิบัติแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .5 ส่วนด้านอื่นไม่ แตกต่างกัน
3. แนวทางในการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา อุบลราชธานี เขต 2 ในแต่ละด้านปรากฏผลดังนี้ ต้านอุดมการณ์คุณธรรม สถานศึกษาควรส่งเสริมการเรียนรู้นิติธรรมประพฤติตนอยู่ในกรอบกฎหมาย จารีต ประเพณีและพระธรรมวินัย รวมทั้งนำกฎหมายว่าด้วยพนักงานข้าราชการ หรือศาสนการมาปรับใช้ในสถานศึกษา ด้านความกตัญญู สถานศึกษาควรรายงานการประเมินตนเองและรายงานต่าง ๆ ของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานต้องเป็นความจริง และทุกขั้นตอนต้องยึดหลักความโปร่งใสตรวจสอบได้ ควรมีการปรับปรุงกสไกการทำงานร่วมกันและมีความซื่อสัตย์สุจริต
ด้านความพอเพียง สถานศึกษาควรเปิดโอกาสให้ชุมชนและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมและเสนอความคิดเห็นในการตัดสินใจ ให้โอกาสคนทุกคนในองค์กรมีสิทธิและเสียงในการแสดงความคิดเห็นเพื่อเกิดความสามัคคีในหมู่ ด้านความรับผิดชอบสถานศึกษาควรมีความตระหนักในสิทธิหน้าที่การงานการอาพาธของตนเอง
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
The aims of this research were: 1) to study the promotion of virtues and ethics in schools under the Office of Primary Education Service Area 2, Ubonratchathani province; 2) to compare the promotion mentioned; 3) to study the suggestions and ways of such promotion in the studied schools. This study used the mixed research methodologies: for the quantitative research, the samples were 283 of the administrators and teachers, selected by Krejcie and Morgan’s methods of stratified random sampling and simple random sampling. The tool in this process was a five rating scale questionnaire which was used to find the statistical values of Percentage, Mean and Standard Deviation. For the qualitative research, the interview form was used to interview 10 key informants before the data obtained were analyzed by the descriptive analysis.
The research results were as follows:
1) The statistical scores of the promotion of virtues and ethics in the studied schools in overall and each aspect perspectives were at a high level; the highest can be seen in the aspect of ‘sufficiency’, followed by that of ‘honesty’ and ‘virtues and ethics’; the least was of ‘responsibility
2) Based on the comparison, the statistical scores of such promotion, classified by the samples’ positions were indifferent; this denied the hypothesis determined. The aspects of ‘worthiness’ showed the differences of the practices with the statistical significance level of .05; the scores of other aspects were indifferent.
3) The suggestions and ways of such promotion in the studied schools were that in the aspect of ‘virtues and ethics’; the schools should promote the conducts according to the laws, cultures and traditions; the law of governmental employees or religions should be applied in the schools. In the aspect of ‘gratitude’, the schools should have self-assessment according the reality based on the transparency; the corporation at work should be improved by honesty development. In the aspect of ‘sufficiency’, the schools should open the opportunity to the community and stakeholders to participate in making a decision in administration ; all should be given right to raise their opinions for the harmony of the community. In the aspect of ‘responsibility’, the schools should realize the rights of their works.
รายการไฟล์
ชื่อ | ไฟล์ | ขนาด | ประเภทไฟล์ | ดาวน์โหลด | วันที่ทำรายการ | |
---|---|---|---|---|---|---|
Full Text | Full Text.pdf | 2.66 MiB | 2,570 | 24 ก.ค. 2564 เวลา 03:20 น. | ดาวน์โหลด |