โทรศัพท์: 035-248000 ต่อ 8176 | อีเมล: [email protected]

  • ชื่อเรื่องภาษาไทย
    ศึกษาวิเคราะห์การจัดการความขัดแย้งของสามเณรตามที่ปรากฏ ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท
  • ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษAn Analytical Study of Conflict Management of Novices as Found in Theravada Buddhist Scripture
  • ผู้วิจัยพระมหาพลกฤษณ์ ฐิตเมธี (ดรที)
  • ที่ปรึกษา 1ผศ.ร.ท.ดร.บรรจบ บรรณรุจิ
  • ที่ปรึกษา 2ผศ.ดร.ประพันธ์ ศุภษร
  • วันสำเร็จการศึกษา20/03/2018
  • ส่วนงานจัดการศึกษา:บัณฑิตวิทยาลัย
  • ชื่อปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พธ.ม.)
  • ระดับปริญญาปริญญาโท
  • สาขาวิชาสันติศึกษา
  • URI http://e-thesis.iteam.co.th/thesis/461
  • ปรากฏในหมวดหมู่วิทยานิพนธ์
  • ดาวน์โหลด 456
  • จำนวนผู้เข้าชม 290

บทคัดย่อภาษาไทย

วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ (1) เพื่อศึกษาหลักการแนวคิดการจัดการความขัดแย้งโดยหลักพุทธสันติวิธี (2) เพื่อศึกษาการจัดการความขัดแย้งของสามเณรตามที่ปรากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนา (3) เพื่อศึกษาวิเคราะห์การจัดการความขัดแย้งของสามเณรตามที่ปรากฏใน
คัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท
เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยเน้นการศึกษา จากเอกสาร Documents Research (DR) เป็นหลักโดยการค้นคว้าจากคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา คือ พระไตรปิฎก อรรถกถา และฎีกา รวมทั้งหนังสือ เอกสาร และต าราวิชาการทั่วไป โดยศึกษา วิเคราะห์บทบาทการจัดการความขัดแย้งของสามเณรตามที่ปรากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท ตามหลักพุทธสันติวิถี โดยผลการศึกษาพบว่า
1) การจัดการความขัดแย้งโดยหลักพุทธสันติวิธีนั้น คือ หลักปาฏิหาริย์ 3 อธิกรณสมถะ และอริยสัจ 4 ได้แก่ (1) ปัญหาความขัดแย้ง (2) สาเหตุความขัดแย้ง (3) การจัดการความขัดแย้ง (4) แนวทางในการจัดการความขัดแย้ง

2) การจัดการความขัดแย้งของสามเณรตามที่ปรากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนา พบว่า สามเณรได้น ากระบวนการตามหลักพุทธสันติวิธีมาใช้ในการจัดการความขัดแย้งคือ 1) สติ ขันติ สันติ 2) อหิงสกวิธี 3) วาจาสุภาษิต 4) อิทธิบาท 5) ปมาณิกธรรม 6) อิทธิวิธี

3) การศึกษาวิเคราะห์การจัดการความขัดแย้งของสามเณรตามที่ปรากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาทท าให้ได้องค์ความรู้ใหม่ จากการศึกษาวิเคราะห์ถอดบทเรียนองค์ความรู้ใหม่ในการจัดการความขัดแย้งของสามเณรตามที่ปรากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนานี้ องค์ความรู้นี้เรียกว่า ไตรวิทยา ได้แก่ 1) ทัศนวิทยา คือ ความฉลาดรอบรู้ 2) จิตวิทยา คือ ความเข้าใจรู้จริง 3) ญาณ วิทยา คือ ความชัดเจนแจ่มแจ้งด้วยปัญญา ด้วยสามเณรมีคุณสมบัติอย่างนี้แล้ว จึงท าให้สามเณรทุกรูปที่ท าหน้าที่จัดการความขัดแย้งมีผลปรากฏออกมาสู่สาธารณชน คือ สามารถจัดการเพื่อยุติความ ขัดแย้งระงับข้อพิพาทที่เกิดขึ้นในพระพุทธศาสนาได้ส าเร็จเสร็จสิ้นทุกคดีอันน าซึ่งความดีงามความ เจริญมั่นคงมาสู่บวรพระพุทธศาสนาตามที่ปรากฏมาดังนี้

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ

This thesis is of 3 objectives: 1) to study the principally concepts of conflict management by Buddhist peaceful means, 2) to study conflict management of novices as existed in Buddhist Scripture, and 3) to analytical study conflict management of novices asfound in Theravada Buddhist Scripture. It is a qualitative research mainly emphasizing the documentary study from Buddhist Scripture, i.e. Tipitaka,
Commentary and Tika, including books, documents and general text-books, by analyzing, according to Buddhist peaceful means, the roles of conflict management of  novices found in Theravada Buddhist Scripture.
From the research, it is found the followings:
1. The conflict management by Buddhist peaceful means are by Pãṭihãriya or the Three Miracles, Bodily harm or Athikaranasamatha and the Four Noble Truth, i.e. 1) the problem of conflict, 2) the cause of conflict, 3) the conflict management, and 4) the way to manage conflict.
2. Regarding the conflict management in Buddhist Scripture, it is found that novices brought the process of Buddhist peaceful means to manage conflict; the process consists of 1) mindfulness-patience-peace, 2) Ahimsã: non-harming means, 3) pleasant saying, 4) Iddhipãda: the four paths of accomplishment, 5) Pamãṇika : those who measure, and 6) Itthiwithi: the power miracle.

3. The analytical study of Novices’ conflict management found in  Theravada Buddhist Scripture has yielded the new knowledge; from the lesson learned, the model in managing conflict of the novices found therein the Scripture is called Tivittaya of 1) Dassana-vittaya: the smartness of knowledge, 2) Psychology:the real understanding, and 3) Nãna-vittaya: the clearness of wisdom. As the novices
have these properties, each of them, having the duty of managing conflict, then has the evident outcome to the public that is the ability to stop the conflicts and the disputes occurred in Buddhism successfully every case which has brought sustainable virtue to Buddhism.

รายการไฟล์

ชื่อ ไฟล์ ขนาด ประเภทไฟล์ ดาวน์โหลด วันที่ทำรายการ
Full Text Full Text.pdf 2.12 MiB 456 3 มิ.ย. 2564 เวลา 02:43 น. ดาวน์โหลด