-
ชื่อเรื่องภาษาไทยภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ตามหลักพุทธศาสนาของผู้นำชุมชนตาม ความคิดเห็นของประชาชน กรณีศึกษาชุมชนตำบลบางรักน้อย อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี
- ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษBuddhist Desirable Leadership of Community Leaders in Accordance with People's Opinion : A Study of Bangraknoi Subdistrict, Muang District, Nonthaburi Province
- ผู้วิจัยนายธนวัลน์ คงสระบัว
- ที่ปรึกษา 1ผศ.ดร.สุรพล สุยะพรหม
- ที่ปรึกษา 2พระครูสังฆรักษ์กียรติศักดิ์ กิตุติปญฺโญ ธ
- ที่ปรึกษา 3ว่าที่ ร.อ.ดร.สวัสดิ์ จิรัฏฐิติกาล
- วันสำเร็จการศึกษา20/09/2010
- ส่วนงานจัดการศึกษา:
- ชื่อปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พธ.ม.)
- ระดับปริญญาปริญญาโท
- สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
- URI http://e-thesis.iteam.co.th/thesis/46912
- ปรากฏในหมวดหมู่วิทยานิพนธ์
- ดาวน์โหลด 0
- จำนวนผู้เข้าชม 421
บทคัดย่อภาษาไทย
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงตั ) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ตามหลักสัปปุริสธรรมของผู้นำชุมชนตำบลบางรักน้อย อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ตามความคิดเห็นของประชาชน 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อภาระผู้นำที่พึงประสงค์ตามหลักสับปุริสธรรม ของผู้นำชุมชนตำบลบางรักน้อย อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรีโดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาผู้นำชุมชนที่พึงประสงค์ตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของชุมชน ตำบลบางรักน้อย อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรีซึ่งกลุ่มตัวอย่าง ที่ไซในการวิจัย คือ ประชาชนในชุมชนตำบลบางรักน้อยอำเภอเมือง จังหวัดนน ทบุรี จำนวน 420ชุด แบบสอบถามที่ใช้ในการวิจัยมีการหาคุณภาพ โดยการหาความเที่ยงตรงของเนื้อหา ( Content Validity) จากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 2 ท่น และมีดำความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากับ 0 .87 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน นมฐาน (S.D.) ช้สถิติทดสอบสมมติฐานโตยใช้ การทดสอบคำที่(t+test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA)
ผลการวิจัย พบว่า
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ตามหลักพุทธศาสนา ของผู้นำชุมชนตำบลบางรักน้อย อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี้พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระตับมาก เมื่อพิจารณาไนแต่ละต้าน พบว่ อยู่ในระตับมากกต้น โดยมีคำเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยตามสำดับ ดังนี้ ปริสัญญุตา ธัมมัญญุตา อัตถัญญุตา มัตตัญญุตา อัตตัญญุตา กาลัญญุตา และปุดคลัญญุตาการเปรียบเทียบ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ตามหลักพุทธศาสนาของผู้นำชุมชนตำบลบางรักน้อย อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรีตยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลพบว่า ประชาชนที่มีเพดที่ดำงกัน มีดวามคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อภาวะผู้นำที่พึงประ สงค์ตามหลักพุทธศาสนา ของชุมชนตำบลบางรักน้อย อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน จึงปฏิเลธ สมมติฐานที่ ตั้งไว้ ส่วนประชาชนที่มีอายุ สถานภาพทางครอบครัว อาชีพ อายุงาน วุฒิการศึกษา และรายได้ที่ต่างกัน มี ดวามติดเห็นของประชาชนที่มีต่อภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ตามหลักพุทธศาสนา ของชุมชนตำบลบางรักน้อย อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี โดยภาพรวม แตกต่างกัน จึงยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว้ อย่างมีนัยสำดัญที่ระดับ .01 และ 5 ป้ญหาเกี่ยวกับ ภาวะผู้นำของชุมชนตำบลบางรักน้อย อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี พบว่า บางครั้งผู้นำไม่สามารถปฏิบัติดามกฎระเบียบที่หนด งนบางอย่างมีดวามสลับชับซ้อน ยากต่อการเข้าใจ บางครั้งมีการใช้อารมณ์ส่วนตัวมารวมกับการทำงาน ยังมีการติฉินนินทา บางที่มี การก้าวก่ายการทำงานของค งคนอื่น สำหรับผู้เริ่มเช้าทำงาน จะมีการปรับตัวเข้ากับเพื่อนร่วมงาน ค่อนข้างยาก มีการนำของส่วนรวมไปใช้ส่วนตัวบ้าง บางที่การจัดสรรงบประมาณกินความจำเป็นต่อการบริหาร การทำงาน บางครั้งไม่ได้วาง แผนไว้ส่วงหน้าจึงการลับลนในขั้นตอนการทำงาน บางที่เมื่อเกิดเหตุการณ์ดับขัน ผู้บริหารไม่สามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ ยังตอบสนองความต้องการของชุมชนไม่ทั่วถึง การช่วยเหลือชุมชนบางครั้งยังตอบสนองความต้องการได้ไม่เต็มที่ บางครั้งการมอบหมายงานยังไม่ตรงกับความสามารถ และบางครั้งบรรยากาตในการทำงานดูตึงเดรียดเกินไปส่วนข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับ ภาวะผู้นำของชุมชนตำบลบางรักน้อย อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี พบว่า ควรส่งเลริมให้ผู้นำสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบที่กำหนด งานใดที่มีความสลับชับซ้อน ควรมีคู่มือ และดำอธิบายให้ชัดเจน ไม่ดวรนำอารมณ์ส่วนตัวมาใช้ร่วมกับการทำงานควรกล่าวแต่สิ่งที่ดีของผู้อื่น ควรปฏิบัติภายได้ขอบเขต และภาระหน้าที่ของตน พยายามเข้าทำงานอย่างใกลัชิด เพื่อการปรับตัวเข้ากับเพื่อนร่วมงานไต้ง่ย ไม่ควรนำของส่วนรวมไปใช้ส่วนตัว ควรจัดสรร ประมาณให้พอดีกับความจำเป็นในการบริหาร มีการวาง รทำงานอยู่เสมอ เพื่อมีให้เกิดการสับสนในขั้นตอนการทำงาน ผู้บริหารควรฝึกการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าอยู่เสมอ ๆ ควรตอบล ลนองความต้องการของชุมชนให้ทั่วถึงกัน ดวรช่วยเหลือชุมชนตาม ความต้องการ ของชุมชนน์น โดยการสอบถามความต้องการที่แท้จริงในแต่ละชุมชน ควรมอบหมายงานให้ตรงกับ ความสามารถ และควรสร้างบรรยากาศในการทำงานที่ผ่อนคลาย ไม่ตึงเครียดเกินไป
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
The main objectives of this research are 1) to study the Buddhist desirable leadership of community leaders in accordance with people's opinion; 2) to compare the people's opinions towards the Buddhist desirable leadership of community leaders in Bangraknoi Subdistrict, Muang District, Nonthaburi Province, classified by personal factors; and 3) to study guidelines in developing the Buddhist desirable leadership of community leaders in Bangraknoi Subdistrict, Muang District, Nonthaburi Province. The 420 samples of this research were randomly chosen from the people living in Bangraknoi Subdistrict, Muang District, Nonthaburi Province. The tool used for data collection was the questionnaire which validated by five specialists, with the value of reliability equal to 0.87. Program for social science research was employed for data analysis by using statistical techniques such as frequencies, es, percentage, ave erage, standard deviation(S.D) for describing data from variables or personal charact cteristics. The analysis was also done through t-test for analysis the hypotheses in order to teet the average difference between the two groups and f- test by one-way analysis of variance (One-way ANOVA) for testing the difference between the averages from three or more groups The findings of this study are concluded as follows :
The overall people's opinion towards the Buddhist desirable leadership of community leaders in Bangraknoi Subdistrict, Muang District, Nonthaburi Province was found at high level. Having considered by each aspect, it was also rated at the high levels at all aspects, ranking from the most to the least in terms of means such as Parisannuta : knowing the assembly, Dhamannuta : knowing the law, Atthannuta : knowing the meaning. Mattannuta: Moderation, Attannuta: knowing oneself, Kalannuta: knowing the proper time, and Puggalannuta : knowing the individual, respectively. With regard to comparison of people's opinion towards the Buddhist desirable leadership of community leaders in Bangraknoi Subdistrict, Muang District, Nonthaburi Province classifed by personal factors, sex was noted no significant differences even at .05 level, whereas it was noticed that age, family status, occupation, years of working, level of education, and income were found statistically significant different at .01 and .05 levels. Regarding to problems and obstacles of leadership of community leaders in Bangraknoi Subdistrict, Muang District, Nonthaburi Prowince, it was found that sometimes community leaders s were not able to follow the specified rules and regulations, some rules
and regulations s were sophisticated to und understand, sometimes there was emotion mixing in work, gossip prevailing in workplace, there was working over other's jobs, there was difficult adaptation in working for new workers, there were public materials for personal use, sometimes there was unne necessary budget allocation for administration, no planned works in advance causing confusion in working, whenever er emergent sit. ituation the administrators were not able to response it, works did not meet enough community requirements, job allocation was not consistent with the capacity, and working atmosphere seemed to be serious. Suggestions for improve vement were noted as follows : there should be systematic support for the community leaders to follow the specified rules and regulations, the job that sophisticated should has the Manual and clear expl planation, there should no emotion in workplace, the other's good deeds should be always mentioned, work with their job
description and duties must be practiced, there should be closed care of new workers inorder to easily adapt themselves in work environment, there should be no public use for the personal one, there should be enough budget allocation necessary for administration, there always be working plans in order to solve the working confusion, administrators should be alert in unexpected problem solving training, there must be wide community requirements, there must be helping services to meet the community requirements by asking the real needs of each community, work allocation must consistent with the capacity and the flexible working atmosphere must be created.
รายการไฟล์
ชื่อ | ไฟล์ | ขนาด | ประเภทไฟล์ | ดาวน์โหลด | วันที่ทำรายการ |
---|