โทรศัพท์: 035-248000 ต่อ 8176 | อีเมล: [email protected]

  • ชื่อเรื่องภาษาไทย
    แรงจูงใจตามหลักอิทธิบาท ๔ ที่มีต่อการปฏิบัติงานของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษThe research The Motivation with four Iddhipadadas of Performance of laggard persons of Mahachulalongkornrajavidyalaya University
  • ผู้วิจัยว่าที่ ร.ต. กฤตภาส บุญภิโย
  • ที่ปรึกษา 1รศ. ดร.ชาติชาย พิทักษ์ธนาคม
  • ที่ปรึกษา 2ดร.สายหยุด มีฤกษ์
  • วันสำเร็จการศึกษา29/05/2023
  • ส่วนงานจัดการศึกษา:
  • ชื่อปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.)
  • ระดับปริญญาปริญญาโท
  • สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว
  • URI http://e-thesis.iteam.co.th/thesis/50395
  • ปรากฏในหมวดหมู่วิทยานิพนธ์
  • ดาวน์โหลด 0
  • จำนวนผู้เข้าชม 181

บทคัดย่อภาษาไทย

การศึกษาวิจัยเรื่องแรงจูงใจตามหลักทธิบาท4ที่มีต่อการปฏิบัติงานของบุคลากรมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการใช้หลักอิทธิบาท4และแรงจูงใจตามหลักอิทธิบาท4ที่มีต่อการปฏิบัติงานของบุคลากรมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยระเบียบวิธีวิจัย กลุ่มตัวอย่างได้แก่ บุคคลลากรมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จำนวน 244 รูป/คนเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการแบบสอบถามวิเคราะห์ข้อมูลจากสถิติพรรณนาได้แก่การหาค่าร้อยละการหาค่าเฉลี่ยการหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติอนุมาน ได้แก่ การหาค่า T-test ในกลุ่มตัวอย่าง ๒ กลุ่ม และค่า F-test (one -way Anova) ในกลุ่มตัวอย่างตั้งแต่ 3 กลุ่มขึ้นไป

ผลการวิจัย พบว่า

บุคลากรที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นบรรพชิต คิดเป็นร้อยละ 51.80  มีอายุระหว่าง 25-35 ปี  คิดเป็นร้อยละ 31.10 มีระดับการศึกษาปริญญาโท คิดเป็นร้อยละ  40.60 มีตำแหน่งการทำงานเป็นเจ้าหน้าที่  คิดเป็นร้อยละ 44.20 มีระดับเงินเดือนระหว่าง20,001-30,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 36.80 และมีประสบการณ์การทำงานระหว่าง 5-10 ปี คิดเป็นร้อยละ 33.60 บุคลากรมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยมีระดับการใช้หลักอิทธิบาท 4 โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.56 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 1.07 มีแรงจูงใจตามหลักอิทธิบาท4ต่อการปฏิบัติงานโดยรวม อยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ3.53 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.98

 จากผลการทดสอบสมมุติฐาน พบว่า การใช้หลักอิทธิบาท 4 ต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคคลากร เมื่อคิดตามปัจจัยเกี่ยวกับเพศตำแหน่งการทำงานและประสบการณ์การทำงาน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลอื่นๆ ไม่มีความแตกต่างกัน

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ

Theresearch The MotivationwithfourIddhipadadasofPerformance of laggardpersons of MahachulalongkornrajavidyalayaUniversity It is quantitative research.The objective is to study the level of use of the four Iddhipadadas and the motivation accordingtothe  fourIddhipadadas towards the performance of persons of Mahachulalongkornrajavidyalaya University. Research Methodology The sample groupconsisted of 244 personals from Mahachulalongkornrajavidyalaya University. Collect data by querying Data were analyzed from descriptive statistics, including percentage, average, standard deviation, and inference statistics, including T-test in 2 sample groups and F-test (one -way Anova). In 3 or more sample groups.  

The results showed that the majority of respondents were gendered the monks 51.8 per cent,  The aged between 25-35 years old, 31.10  per cent.  Have a master's degree  40.60 per cent.  Official 44.20 per cent. salary ranges between 20,001-30,000 baht. 36.80 per cent. Experience of working between 5-10 , 33.60 per cent  Personnel of Mahachulalongkornrajavidyalaya University. There are high level of four Iddhipadadas use with an average  of 3.72, a  standard deviation of 1.03,   and an incentive according to the four Iddhipadadas to perform their work as  a whole, with an average of  3.53. Standard deviation: 0.98

 Fromthehypothesis testresults, it was found that the use of  four Iddhipadadas  on the performance motivation of personnel when considering factors related togender, work position and work experience. There were significant differences, while other personal factors did not difference.

รายการไฟล์

ชื่อ ไฟล์ ขนาด ประเภทไฟล์ ดาวน์โหลด วันที่ทำรายการ