-
ชื่อเรื่องภาษาไทยแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์เพื่อการจัดการเรียนรู้ตามหลักอิทธิบาท ๔ ของครูสังกัดกองการศึกษา จังหวัดสระบุรี
- ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษAchievement Motivation for Learning Management According to Iddhibaht Principle 4 of Teachers under the Division of Education Saraburi Province
- ผู้วิจัยนายอธิชัย โศจิศิริกุล
- ที่ปรึกษา 1พระปลัดสรวิชญ์ อภิปญฺโญ, ผศ. ดร.
- ที่ปรึกษา 2พระครูปลัดมารุต วรมงฺคโล, รศ. ดร.
- วันสำเร็จการศึกษา29/05/2023
- ส่วนงานจัดการศึกษา:
- ชื่อปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.)
- ระดับปริญญาปริญญาโท
- สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว
- URI http://e-thesis.iteam.co.th/thesis/50416
- ปรากฏในหมวดหมู่วิทยานิพนธ์
- ดาวน์โหลด 0
- จำนวนผู้เข้าชม 88
บทคัดย่อภาษาไทย
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์เพื่อการจัดการเรียนรู้ตามหลักอิทธิบาท 4 2) เพื่อเปรียบเทียบแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์เพื่อการจัดการเรียนรู้ตามหลักอิทธบาท 4 3) เพื่อศึกษาแนวทางการส่งเสริมการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการจัดการเรียนรู้ตามหลักอิทธิบาท 4 ของครูสังกัดกองการศึกษา จังหวัดสระบุรี รูปแบบการวิจัยเป็นผสานวิธี กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย คือ ครูสังกัดกองการศึกษา จังหวัดสระบุรี จานวน 400 คน ผู้ให้ข้อมูลสาคัญเชิงลึก คือ ครูสังกัดกองการศึกษา จังหวัดสระบุรี จานวน 7 คน ผู้เชี่ยวชาญจานวน 6 รูป/คน รวมทั้งสิ้นจานวน 13 รูป/คน โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า
1. ระดับแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์เพื่อการจัดการเรียนรู้ตามหลักอิทธิบาท ๔ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x¯=4.12, S.D.=0.541) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดอยู่ในระดับมาก ได้แก่ 4) ความใส่ใจส่วนตัว (Personal Unconcern) (x¯=4.32, S.D.= 0.547) ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด อยู่ในระดับมาก ได้แก่ 1) การทางาน (Work) (x¯=4.12, S.D.=0.541)
2 เพศ อายุ และระดับการศึกษามีระดับแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์เพื่อการจัดการเรียนรู้ ตามหลักอิทธิบาท ๔ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติอยู่ที่ระดับ 0.01
3. แนวทางการส่งเสริมแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์เพื่อจัดการเรียนรู้ตามหลักอิทธิบาท 4 ของครูสังกัดกองการศึกษา จังหวัดสระบุรี ได้แก่ 1) ฉันทะ (ความพอใจ) คือ ต้องสร้างทัศนคติให้มีความพอใจในเทคโนโลยี 2) วิริยะ (ความมุ่งมั่น) คือ ต้องพยามเรียนรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 3) จิตติ (ความตั้งใจ) คือ ต้องไฝ่ศึกษาพัฒนาศักยภาพด้านเทคโนโลยี 4) วิมังสา (การพิจารณา ปรับปรุง พัฒนา) คือ ควรพัฒนาความสามารถด้านเทคโนโลยีอย่างเต็มที่ หัดไปทีละโปรแกรมจนคล่อง เลือกโปรแกรมที่ตอบโจทย์ความต้องการของผู้เรียน
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
The objectives of this research were 1) to study the level of achievement motivation for learning management according to the Iddharbat 4 principle, 2) to compare the achievement motivation for learning management according to the Iddharbat 4 principle, 3) to study the approach. Promoting the use of computers for learning management according to the principle of influence 4 of teachers under the Division of Education Saraburi Province The research model is a merged method. The target group used in this research were teachers under the Division of Education. Saraburi Province in the amount of 400 people who provide important in-depth information are teachers under the Education Division. Saraburi Province, 7 people, experts 6 photos/person, total 13 photos/person by purposive selection method. The tools used in the research were questionnaires, interview forms. Statistics used in data analysis were percentage, mean, standard deviation and content analysis.
The results showed that:
1. Achievement motivation Level for learning management according to Iddhipada 4 was at a high level overall (x¯ = 4.12, S.D. = 0.541). at a high level, namely 4) Personal Unconcern (x¯ = 4.32, S.D. = 0.547). at a high level, namely 1) work (Work) (x¯ = 4.12, S.D. =0.541)
2. Gender, age and level of education had achievement motivation for learning management. According to Idthibat 4, the differences were statistically significant at the 0.01 level.
3. Guidelines for Promotion of Achievement Motivation for Learning Management According to the Principle of Influence 4 of Teachers under the Division of Education Saraburi province are: 1) Chantha (satisfaction) is having to create an attitude to be satisfied with technology 2) Viriya (determination) is having to try to learn about computers 3) Jitti (intention) is having to study and develop potential. Technology 4) Vimangsa (consideration, improvement, development) i.e. technology capability should be fully developed. Learn to go through each program until fluent.
รายการไฟล์
ชื่อ | ไฟล์ | ขนาด | ประเภทไฟล์ | ดาวน์โหลด | วันที่ทำรายการ |
---|