-
ชื่อเรื่องภาษาไทยระบบการสอนสังคมศึกษาตามหลักไตรสิกขา เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๖ อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษDevelopment of Social Studies teaching System according to the Trisikkha Principes to Improve Achievement for Upper-School Students Secondary Educational Area, Region 6, Mueang Chachorngsoa
- ผู้วิจัยพระมหาประยอม กลฺยาโณ (ล่มไมล์)
- ที่ปรึกษา 1ผศ. ดร.นิเวศน์ วงศ์สุวรรณ
- ที่ปรึกษา 2ดร.สุรชัย แก้วคูณ
- วันสำเร็จการศึกษา29/06/2024
- ส่วนงานจัดการศึกษา:
- ชื่อปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ค.ด.)
- ระดับปริญญาปริญญาเอก
- สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา
- URI http://e-thesis.iteam.co.th/thesis/51364
- ปรากฏในหมวดหมู่ดุษฎีนิพนธ์
- ดาวน์โหลด 0
- จำนวนผู้เข้าชม 501
บทคัดย่อภาษาไทย
การวิจัยมีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาองค์ความรู้เกี่ยวกับระบบการสอนสังคมศึกษาตามหลักไตรสิกขา เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา (2) เพื่อพัฒนาศึกษาการพัฒนาระบบการสอนสังคมศึกษาตามหลักไตรสิกขา เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา (3) เพื่อประเมินสภาพปัญหาและความต้องการของระบบการสอนสังคมศึกษาตามหลักไตรสิกขา เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา (4) เพื่อเสนอแนะระบบประเมินและรับรองการสอนสังคมศึกษาตามหลักไตรสิกขา เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นการวิจัยแบบพัฒนา กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 362 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม และสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interview) จำนวน 10 คน
ผลการวิจัยพบว่า
1) ตามวัตถุประสงค์ที่ 1 เพื่อศึกษาองค์ความรู้ระบบการสอนสังคมศึกษาตามหลักไตรสิกขา 1. ด้านเนื้อหา 2. ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน 3. ด้านสื่อการเรียนการสอน 4. ด้านการวัดประเมินผล 5. ด้านสิ่งแวดล้อมสนับสนุนการเรียนการสอน โดยใช้หลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญา มาช่วยในระบบการสอนสังคมศึกษาเพื่อเป็นการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน อยู่ในระดับมาก
2) ตามวัตถุประสงค์ที่ 2 เพื่อพัฒนาระบบการสอนสังคมศึกษาตามหลักไตรสิกขา พบว่า โดยภาพรวม พบว่า ความคิดเห็นของนักเรียนตั้งไว้อยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.01, S.D = 0.616) ซึ่ง งตามเกณฑ์ที่ตั้งอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านสื่อการเรียนรู้ (x̅ = 4.04, S.D = 0.543) ด้านการวัดประเมินผล (x̅ = 4.02, S.D =0.746) ด้านเนื้อหา (x̅ = 4.00, S.D = 0.472) ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน (x̅ = 3.99, S.D = 0.937) และด้านสิ่งแวดล้อมสนับสนุนการเรียนการสอน (x̅ = 3.98, S.D = 0.637)
3) ตามวัตถุประสงค์ที่ 3 พบว่า เพื่อประเมินสภาพปัญหาและความต้องการของระบบการสอนสังคมศึกษาตามหลักไตรสิกขา พบว่า ด้านสภาพปัญหา โดยภาพรวมตามเกณฑ์พบว่า ความคิดเห็นของนักเรียนตั้งไว้ อยู่ในระดับปานกลาง (x̅ = 3.05, S.D = 0.599) ด้านความต้องการ โดยภาพรวมตามเกณฑ์พบว่า ความคิดเห็นของนักเรียนตั้งไว้ อยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.12, S.D =0.13)
4) ตามวัตถุประสงค์ที่ 4 เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยได้จากการสัมภาษณ์จากผู้ทรงคุณวุฒิผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องที่สอดคล้องกับงานวิจัยจำนวน 10 รูป/คน พบว่า สรุปตามประเด็นคำถาม 5 ข้อที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 4 ข้อ ดังนี้ ศีล คือการพัฒนากายให้อยู่กับระเบียบวินัย สมาธิ คือ ความมุ่งมั่นตั้งใจ เมื่อตั้งใจแล้วจะสำเร็จสมหวัง ปัญญา คือ จะช่วยให้ลอดพ้นปัญหาอุปสรรคไปได้ ปัญหา คือ ความเข้าใจว่าศีลสมาธิปัญญา เกิดจากไปรับศีลที่วัด สมาธิ สมาธิต้องนั่งหลับตาภาวนา ปัญญา คือ ต้องเหาะเหินเดินอากาศได้ ฉะนั้นผู้สอนต้องให้นักเรียนเข้าใจว่า ศีล คือระเบียบวินัย สมาธิ คือความตั้งใจ ปัญญาคือรู้ว่าแก้ปัญหาอุปสรรคอย่างไร และสามารถอธิบายให้ประชาชนเข้าใจศีล สมาธิ และปัญญา เพราะปัญญาเป็นตัวช่วยในการแก้ปัญหาและอุปสรรค ดังนั้นถ้าไม่มีพื้นฐานก็ไม่รู้จะนำไปใช้อย่างไร ถ้ามีพื้นฐานก็เข้าใจชั่วดี หรือจุดแข็ง เอาศีลสมาธิปัญญาไปพัฒนาตนเอง และแนะนำสังคมเพื่อให้สังคมอยู่ด้วยกันอย่างมีความสงบสุขได้และสอดคลองกับ Mind Mapping และไตรสิกขาโมเดล (Tri-Sikkha Model by Prayom lommai)
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
The objectives of the research were: The research aims to: 1) Study the body of knowledge regarding the social studies teaching system based on the Threefold Training principles to improve learning outcomes for upper secondary school students in Secondary Educational Service Area Office 6, Mueang District, Chachoengsao Province. 2) Develop the social studies teaching system based on the Threefold Training principles to improve learning outcomes for upper secondary school students in Secondary Educational Service Area Office 6, Mueang District, Chachoengsao Province. 3) Evaluate the problems and needs of the social studies teaching system based on the Threefold Training principles to improve learning outcomes for upper secondary school students in Secondary Educational Service Area Office 6, Mueang District, Chachoengsao Province. 4) Propose an evaluation and accreditation system for social studies teaching based on the Threefold Training principles to improve learning outcomes for upper secondary school students in Secondary Educational Service Area Office 6, Mueang District, Chachoengsao Province. This is developmental research. The sample size is 362 people. The research tools include a questionnaire and in-depth interviews with 10 individuals.
The research findings revealed that:
1) According to the first objective, to study the knowledge system of social studies teaching based on the Threefold Training principles: Content aspect, Teaching and learning activities aspect, Teaching and learning media aspect, Evaluation aspect
Learning environment support aspect. The Threefold Training principlesmorality (Sila), concentration (Samadhi), and wisdom (Pañña) are utilized in the social studies teaching system to improve the learning outcomes of students to a high level.
2) According to the second objective, to develop the social studies teaching system based on the Threefold Training principles, it was found that overall, the students' opinions were at a high level (x̅ = 4.01, S.D = 0.616), which meets the set criteria for a high level. When considering each aspect, the aspect with the highest average was learning media (x̅ = 4.04, S.D = 0.543), followed by evaluation (x̅ = 4.02, S.D = 0.746), content ((x̅ = 4.00, S.D = 0.472), teaching and learning activities (x̅ = 3.99, S.D = 0.937), and learning environment support (x̅ = 3.98, S.D = 0.637).
3) According to the third objective, to evaluate the problems and needs of the social studies teaching system based on the Threefold Training principles, it was found: For the aspect of problems, overall, the students' opinions were at a moderate level (x̅ 3.05, S.D = 0.599). For the aspect of needs, overall, the students' opinions were at a high level (x̅ = 4.12, S.D = 0.13).
4) According to the fourth objective, to improve the learning outcomes for upper secondary school students, information was gathered through interviews with 10 experts knowledgeable and experienced in topics relevant to the research. The findings, summarized according to five key questions corresponding to the four objectives, are as follows: Sila (Morality): Refers to the development of physical behavior to be in line with discipline. Samadhi (Concentration): Means determination and focus. When one is focused, success is achieved. Pañña (Wisdom): Helps one to overcome obstacles and challenges. Suggestions for Teachers: Educate students that Sila means maintaining discipline, Samadhi means being focused and determined, and Pañña means knowing how to solve problems and overcome obstacles. Teachers should be able to explain these concepts clearly to the public, as wisdom (Pañña) is crucial for problem-solving and overcoming obstacles. Promoting peace and harmony. These findings align with the Mind Mapping and Tri-Sikkha Model.
รายการไฟล์
ชื่อ | ไฟล์ | ขนาด | ประเภทไฟล์ | ดาวน์โหลด | วันที่ทำรายการ |
---|