-
ชื่อเรื่องภาษาไทยการศึกษาวิเคราะห์เรื่องอริยปฏิปทาในคัมภีร์พระพุทธศาสนา
- ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ: An Analytical Study of Ariyapaṭipadā in Buddhist Scriptures
- ผู้วิจัยพระมหาคำสิงห์ สีหนนฺโท (กองเกิด)
- ที่ปรึกษา 1พระมหาอดิเดช สติวโร, ดร.
- ที่ปรึกษา 2รศ. ดร.สมิทธิพล เนตรนิมิตร
- วันสำเร็จการศึกษา04/05/2020
- ส่วนงานจัดการศึกษา:
- ชื่อปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต (พธ.ด.)
- ระดับปริญญาปริญญาเอก
- สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
- URI http://e-thesis.iteam.co.th/thesis/749
- ปรากฏในหมวดหมู่ดุษฎีนิพนธ์
- ดาวน์โหลด 305
- จำนวนผู้เข้าชม 712
บทคัดย่อภาษาไทย
ดุษฎีนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ (1) เพื่อศึกษาความหมาย ความเป็นมาและความสำคัญของอริยปฏิปทาในคัมภีร์พระพุทธศาสนา (2) เพื่อศึกษาหลักธรรมสำคัญที่ปรากฏในอริยปฏิปทา และ (3) เพื่อวิเคราะห์แนวทางการบำเพ็ญอริยปฏิปทาในคัมภีร์พระพุทธศาสนา งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงเอกสาร
จากการศึกษาพบว่า อริยปฏิปทา ได้แก่ หลักการป4 ประเภท คือ (1) พระโสดาบัน (2) พระสกทาคามี (3) พระอนาคามี และ (4) พระอรหันต์ พระอรหันต์เป็นพระอริยเจ้าชั้นสูงสูดจำแนกเป็น 3 ประเภท คือ (1) พระสัมมาสัมพุทธเจ้า (2) พระปัจเจกพุทธเจ้า และ (3) พระอนุพุทธเจ้า (หรือพระอรหันตสาวก) อริยปฏิปทามี 9 ประการ คือ (1) อริยวังส7) โมเนยยปฏิปทา (8) ตุวฏกปฏิปทา และ (9) จันทูปมปฏิปทา อริยปฏิปทามีความสำคัญต่อบุคคล 4 กลุ่ม คือ (1) พระพุทธเจ้าในฐานะเป็นผู้ตรัสรู้สัจธรรมแล้วนำมาแสดงแก่สาวก (2) ธรรมในฐานะเป็นคำสอนที่เกิดจากพระปัญญาตรัสรู้ขอพระพุทธเจ้า (3) พระอรหันตสาวกในฐานะผู้ปฏิบัติตามแล้วบรรลุเป็นพระอรหันต์ได้เป็นพยานในการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า และ (4) อุบาสกอุบาสิกาในฐานะรับฟังคำสอนแล้วนำมาปฏิบัติตามสมควรแก่ตนและผู้ถวายการอุปถัมภ์บำรุงด้วยปัจจัย 4 แก่ภิกษุซึ่งเป็นเนื้อนาบุญอันประเสริฐ
หลักธรรมสำคัญที่ปรากฏในอริยปฏิปทามีที่มาจาก 3 ส่วนด้วยกัน คือ (1) หลักธรรมที่เป็นพุทธภ9 ประการ มีหลักธรรมสำคัญดังต่อไปนี้ (๑) อริยวัง4 (4) มหาสุญญตาปฏิปทา : เจริญสุญญตาวิหารธรรม (5) อนังคณปฏิปทา : ทำความเพียรเพื่อละราคะ โทสะ โมหะ (6) ธัมมทายาทปฏิปทา : ศึกษาและปฏิบัติตามธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ ไม่คอยจ้องแต่จะรับปัจจัย 4เพื่อปรนเปรอตนเอง (7) โมเนยยปฏิปทา : ฝึกตนด้วยการทำความเพียรเผากิเลสเพื่อสำเร็จเป็นมุนี (8) ตุวฏกปฏิปทา : พัฒนาตนตามหลักไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา) และ (9) จันทูปมปฏิปทา : ปฏิบัติตัวต่อคฤหัสถ์อย่างเหมาะสม ทำตัวเหมือนพระจันทร์ที่ไม่ติดข้องในหมู่เมฆบนท้องฟ้า หลักธรรมในอริยปฏิปทาส่งเสริมให้ภิกษุเลี้ยงชีพด้วยความมักน้อยสันโดษ พัฒนาตนตามหลักไตรสิกขาจนได้เป็นอเสขบุคคล ยินดีในการดำรงสมณเพศ มุ่งมั่นในการศึกษาและเผยแผ่คำสอนของพระพุทธเจ้า และสงเคราะห์คฤหัส3) บำเพ็ญอริยปฏิปทา
ให้บริบูรณ์ (4) ดำรงชีพด้วยความ9 ประการ มีแนวทางการบำเพ็2) ผู้บำเพ็ญรถวินีตปฏิปทาต้องทำความเพียรเพื่อบรรลุวิสุทธิ 7 ซึ่งอุปมาเหมือนขึ้นรถ 7 ผลัด (3) ผู้บำเพ็ญมหาโคสิงคปฏิปทาต้องเอาใจใส่ในการทำความเพียร 4 ด้าน คือ ป้องกันไม่ให้อกุศลเกิดขึ้น เพียรละกุศลที่เกิดขึ้น เพียรทำกุศลที่ยังไม่เกิดให้เกิด และเพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นไว้ต่อไป (4) ผู้บำเพ็ญมหาสุญญตาปฏิปทาต้องไม่คลุกคลีอยู่กับหมู่คณะ ต้องปลีกตัวไปทำความเพียรแล้วดำเนินชีวิตด้วยการมีสติสัมปชัญญะ และอยู่ด้วยความว่างจากกิเลสเป็นต้น (5) ผู้บำเพ็ญอนังคณปฏิปทาต้องหมั่นทำความเพียรจนกว่าจะละกิเลสมีราคะเป็นต้นได้อย่างสิ้นเชิง (6) ผู้บำเพ็ญธัมมทายาทปฏิปทาต้องศึกษาและปฏิบัติตามคำสอนของพระพุทธเจ้า และใช้สอยปัจจัย 4 ด้วยความมักน้อยสันโดษ (7) ผู้บำเ4 ไม่โอ้อวดตนว่ามีคุณธรรมเหนือคนอื่น (๘) ผู้บำเพ็ญตุวฏกปฏิปทาต้องละความถือตัว ดำเนินชีวิตด้วยความเรียบง่ายและพัฒนาตนตามหลักไตรสิกขา และ (9) ผู้บำเพ็ญจันทูปมปฏิปทาต้องวางตัวต่อคฤหัสถ์อย่างเหมาะสม ไม่เข้าไปคลุกคลี ไม่ห่างเหินจนเกินไป ใช้สอยปัจจัยที่คฤหัสถ์ถวายตามที่จำเป็น ไม่ยึดมั่นในลาภสักการะ หลักธรรมในอริยปฏิปทาเหล่านี้สงเคราะห์เข้ากับหลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญา คณะสงฆ์จึงควรส่งเสริมให้ภิกษุบำเพ็ญอริยปฏิปทา ด้วยการส่งเสริมให้ศึกษาจนเข้าใจชัด บำเพ็ญให้บริบูรณ์ในชีวิตของตน ยกย่องผู้ปฏิบัติตามอริยปฏิปทา
ให้ปรากฏ และส่งเสริมให้ภิกษุอื่นปฏิบัติตามด้วย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
This qualitative research is of 3 objectives in this dissertation including: (1) to study meaning, background, and significance of Ariyapaṭipadā in Buddhistscriptures; (2) to study Key Dhamma Principles shown in Ariyapaṭipadā ; and (3) to analyze guidelines of Ariyapaṭipadā practice in Buddhist scriptures.
From the study, it was found that Ariyapaṭipadā is the practice principle of Noble Individuals who are away from defilements or persons who abandoned defilements based on his/her own Dhamma qualifying levels consisted of 4 types including: (1) Sotāpanna; (2) Sakadāgāmī; (3) Anāgāmī; and (4) Arahanta. The Arahantas are the highest Noble Individual that could be classified into 3 types including: (1) Buddha; (2) Private Buddha; and (3) Anu Buddha (or Arahanta follower). Ariyapaṭipadā consisted of 9 elements including: (1) Ariyavaṃsapaṭipadā; (2) Rathavinītapaṭipadā; (3) Mahā- gosiṅgapaṭipadā; (4) Mahāsuññatāpaṭipadā; (5) Anaṅgaṇapaṭipadā; (6) Dhammadāyāda-paṭipadā; (7) Moneyyapaṭipadā; (8) Tuvaṭakapaṭipadā; and (9) Candūpamapaṭipadā.Ariyapaṭipadā was important for the 4 groups of people including: (1) Buddha as theperson who was enlightened and taught to followers; (2) Dhamma as the teaching originated from wisdom and enlightenment of the Buddha; (3) Arahanta followers as followers who were enlightened as Arahanta and witnessed enlightenment of the Buddha; and (4) Male-female followers as persons who listen to and comply with the teaching as proper as well as persons to support monks with the 4 requisites.
The important Dhamma principles shown in Ariyapaṭipadā were originated from 3 parts including: (1) Dhamma principles that were Buddhist proverbs; (2) Dhamma principles that were senior monks’ proverbs; (3) Dhamma principles with the first part as divine proverbs and the subsequently parts as Buddhist proverbs. Ariyapaṭipadā 9 consisted of the following important Dhamma principles: (1) Ariyavaṃsapaṭipadā: being detached with the 4 requisites; (2) Rathavinītapaṭipadā: practicing based on the 7 Visuddhis; (3) Mahā-gosiṅgapaṭipadā: developing the 4 Sammappadhāna; (4) Mahāsuññatāpaṭipadā: developing Suññatāvihāradhamma; (5) Anaṅgaṇapaṭipadā: practicing to abstain greed, hatred, delusion,or lust; (6) Dhammadāyādapaṭipadā: studying and practicing Dhamma taught by the Buddha without using any 4 requisites for self-pampering; (7) Moneyyapaṭipadā: doing self-practice to eliminate lust for becoming Munī; (8) Tuvaṭakapaṭipadā: doing self-development based on the threefold training (morality, mind, wisdom); and (9) Candūpamapaṭipadā: treating laymen appropriately and act as the moon that is solitary and away from stars. Dhamma principles in Ariyapaṭipadā promoted monks to live with solitude and develop themselves based on three fold training until they became Asekha person who were glad with monkhood and strived to study and disseminate the teaching of Buddha while supporting laymen to study and practice Dhamma as proper.
Monks who practice Ariyapaṭipadā in Buddhism should develop themselves to have 5 qualifications as follows: (1) Maintain the 4 Pārisuddhi-sīla completely; (2) Study on Buddha’s words as much as possible; (3) Practice Ariyapaṭipadā completely; (4) Live with contentment in the 4 requisites; and (5) be glad with practicing to the Dhamma, and
meditation (Samatha and Vipassanā Kammaṭṭhāna) for enlightenment. The practice guidelines of the 9 Ariyapaṭipadā were as follows: (1) Person practicing Ariyavaṃsa-paṭipadā must live with solitude on 4 requisites and practice to abstain evils; (2) Personpracticing Rathavinītapaṭipadā must practice the 7 Visuddhis that was compared as travelling by 7 cars; (3) Person practicing Mahāgosiṅgapaṭipadā must pay attention in the 4 Great Endeavors, i.e., preventing evils that have not occurred, abandoning occurred evils, practice to make merit, and practice to maintain occurred merit; (4) Person practicing Mahāsuññatāpaṭipadā must not mingle with any group of people and he/she is required to separate for practicing and living with consciousness free from defilements; (5) Person practicing Anaṅgaṇapaṭipadā must practice until he/she could abandon defilement, e.g. lust completely; (6) Person practicing Dhammadāyādapaṭipadā must study and practice based on the Buddha teaching as well as consume the 4 requisites modestly; (7) Person practicing Moneyyapaṭipadā must practice to abstain lust for becoming Munī and maintain himself/herself to be modest and solitary from the 4 requisites without exaggerating on his/her Dhamma abilities over other persons; (8) Person practicing Tuvaṭakapaṭipadā must abstain arrogance while living simply and developing himself/herself based on the threefold training; and (9) Person practicing Candūpamapaṭipadā must treat laymen appropriately without too much familiarity and distance. He/she must consume requisites offered by laymen as necessary without fascinating with any enrichment and praise. These Dhamma Principles on Ariyapaṭipadā were consistent with the threefold training, is morality, concentration and wisdom; therefore Saṅgha should promote monks to practice Ariyapaṭipadā by promoting them to study, understand, and practice these Dhamma Principles clearly and completely as well as admiring persons practicing Ariyapaṭipadā and promoting other monks to practice these Dhamma Principle
รายการไฟล์
ชื่อ | ไฟล์ | ขนาด | ประเภทไฟล์ | ดาวน์โหลด | วันที่ทำรายการ | |
---|---|---|---|---|---|---|
Full Text | Full Text.pdf | 2.81 MiB | 305 | 15 มิ.ย. 2564 เวลา 08:49 น. | ดาวน์โหลด |